text
stringlengths 2
3.99k
| label
int64 0
0
|
---|---|
มาตรา หนึ่ง ร้อย เก้า สิบ สี่ การ แก้ไข เพิ่มเติม รัฐธรรมนูญ จะ กระทำ ได้ ก็ แต่ โดย หลัก เกณฑ์ และ วิธีการ ดัง ต่อ ไป นี้
| 0 |
ให้ วุฒิสภา ทำ หน้าที่ รัฐสภา ตาม มาตรา นี้มาตรา
| 0 |
วรรค สอง
| 0 |
หนึ่ง ร้อย สิบ เจ็ด
| 0 |
มาตรา แปด สิบ ใน เหตุ ฉุกเฉิน ที่ มี ความ จำเป็น รีบ ด่วน อัน จะ รักษา ความ ปลอด ภัย สาธารณะ หรือ ป้อง ปัด ภัยพิบัติ สาธารณะ และ จะ เรียก ประชุม รัฐสภา ให้ ทันท่วงที มิ ได้ ก็ดี หรือ กรณี เช่น ว่า นั้น เกิด ขึ้น ใน ระหว่าง สภา ผู้ แทน ถูก ยุบ ก็ดี พระมหากษัตริย์ จะ ทรง ตรา พระราชกำหนด ให้ ใช้ บังคับ ดัง เช่น พระราชบัญญัติ ก็ ได้
| 0 |
ใน เมื่อ ไม่ มี บท บัญญัติ แห่ง รัฐธรรมนูญ นี้ บังคับ แก่ กรณี ใด
| 0 |
การ เข้า ไป ใน เคหสถาน โดย ปราศจาก ความ ยินยอม ของ ผู้ ครอบครอง ก็ดี
| 0 |
สาม ร้อย หนึ่ง
| 0 |
การ ตั้ง ขึ้น หรือ ยกเลิก หรือ ลด หรือ เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือ ผ่อน หรือ วาง ระเบียบ การ บังคับ อัน เกี่ยว กับ ภาษี หรือ อากร การ จัดสรร หรือ รับ หรือ รักษา หรือ จ่าย หรือ ก่อ ภาระ ผูกพัน เงิน แผ่นดิน
| 0 |
พระมหากษัตริย์ ทรง ไว้ ซึ่ง พระราชอำนาจ ที่ จะ ยุบ สภาผู้แทนราษฎร เพื่อ ให้ มี การ เลือกตั้ง สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร ใหม่
| 0 |
ใน สมัย ประชุม สามัญ ประจำ ปี ครั้ง ที่ สอง ของ รัฐสภา วุฒิสภา และ สภาผู้แทนราษฎร จะ พิจารณา เรื่อง อื่น ใด ไม่ ได้ นอก จาก การ พิจารณาร่าง พระราชบัญญัติ หรือ การ อนุมัติ พระราชกำหนด เว้น แต่ วุฒิสภา หรือ สภาผู้แทนราษฎร จะ พิจารณา อนุมัติ ด้วย คะแนน เสียง ไม่ น้อย กว่า สอง ใน สาม ของ จำนวน สมาชิก ทั้งหมด เท่า ที่ มี อยู่ ของ แต่ละ สภา ให้ พิจารณา เรื่อง อื่น โดย เฉพาะ ได้
| 0 |
สอง ร้อย สิบ
| 0 |
มาตรา สิบ เจ็ด ใน ระหว่าง ที่ ใช้ ธรรมนูญ การ ปกครอง นี้ ใน กรณี ที่ นายก รัฐมนตรี เห็น สมควร เพื่อ ประโยชน์ ใน การ ป้องกัน ระงับ หรือ ปราบปราม การ กระทำ อัน เป็น การ บ่อน ทำลาย ความ มั่นคง ของ ราชอาณาจักร ราชบัลลังก์ เศรษฐกิจ ของ ประเทศ หรือ ราชการ แผ่นดิน หรือ การ กระทำ อัน เป็น การ ก่อกวน หรือ คุกคาม ความ สงบเรียบร้อย หรือ ศีลธรรม อัน ดี ของ ประชาชน หรือ การ กระทำ อัน เป็น การ ทำลาย ทรัพยากร ของ ประเทศ หรือ เป็น การ บั่นทอน สุขภาพ อนามัย ของ ประชาชน ทั้งนี้ ไม่ว่า การ กระทำ จะ เกิด ขึ้น ก่อน หรือ หลัง วัน ประกาศ ธรรมนูญ การ ปกครอง นี้ และ ไม่ว่า จะ เกิด ขึ้น ภาย ใน หรือ ภาย นอก ราชอาณาจักร ให้ นายก รัฐมนตรี โดย มติ ของ คณะ รัฐมนตรี มี อำนาจ สั่งการ หรือ กระทำ การ ใด ๆ ได้ และ ให้ ถือ ว่า คำ สั่ง หรือ การ กระทำ เช่น ว่า นั้น รวม ถึง การ ปฏิบัติ ตาม คำ สั่ง ดัง กล่าว เป็น คำ สั่ง หรือ การ กระทำ หรือ การ ปฏิบัติ ที่ ชอบ ด้วย กฎหมาย
| 0 |
สอง พัน ห้า ร้อย สิบ ห้า
| 0 |
สิบ แปด
| 0 |
ต่อ ไปมาตรา
| 0 |
สอง ร้อย หก สิบ เอ็ด
| 0 |
หรือ ลัทธิ นิยม ใน ทาง ศาสนา
| 0 |
อำนาจ อธิปไตย เป็น ของ ปวงชน ชาว ไทย
| 0 |
ภาย ใต้ บังคับ มาตรา
| 0 |
เอกสิทธิ์ ที่ บัญญัติ ไว้ ใน มาตรา หนึ่ง ร้อย สาม สิบ ห้า ให้ นำ มา ใช้ บังคับ โดย อนุโลม
| 0 |
หรือ สมาชิก วุฒิสภา
| 0 |
ใน การ ประชุม รัฐสภา ใน คราว ต่อ ไป ให้ นำ พระราชกำหนด นั้น เสนอ ต่อ รัฐสภา ถ้า รัฐสภา อนุมัติ แล้ว พระราชกำหนด นั้น ก็ เป็น พระราชบัญญัติ ต่อ ไป ถ้า รัฐสภา ไม่ อนุมัติ พระราชกำหนด นั้น ก็ เป็นอัน ตก ไป แต่ ทั้งนี้ ไม่ กระทบ ถึง กิจการ ที่ ได้ เป็น ไป ใน ระหว่าง ที่ ใช้ พระราชกำหนด นั้น
| 0 |
ขึ้น ทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวาย เพื่อ มี พระราชวินิจฉัย
| 0 |
และ การ ดำเนิน การ และ ตรวจสอบ การ ดำเนินการ ให้ เป็น ไป ตาม แผน การศึกษา แห่ง ชาติ ด้วย
| 0 |
ใน ระหว่าง เวลา ตาม วรรค หนึ่ง ถ้า บท บัญญัติ ใด ใน รัฐธรรมนูญ นี้ หรือ กฎหมาย อื่น บัญญัติ ให้ ประธาน รัฐสภา ประธาน สภาผู้แทนราษฎร หรือ ประธาน วุฒิสภา เป็น ผู้ ลง นาม รับสนอง พระบรมราชโองการ ให้ ประธาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็น ผู้ ลง นาม รับสนอง พระบรมราชโองการ
| 0 |
( สอง )
| 0 |
( สาม )
| 0 |
ตุลาคมพุทธศักราช
| 0 |
หรือ ของ คณะ รักษาความ สงบเรียบร้อยแห่ง ชาติ ที่ ได้ กระทำประกาศ
| 0 |
หรือ พิจารณา อยู่ ก่อน สมัย ประชุม
| 0 |
ดัง ต่อ ไป นี้
| 0 |
( สาม )
| 0 |
แต่ ต้อง เป็น ไป ตาม หลัก เกณฑ์ และ วิธีการ ที่ กฎหมาย บัญญัติ
| 0 |
หรือ ตำแหน่ง สมาชิก สภา ท้องถิ่น
| 0 |
หนึ่ง ร้อย ห้า สิบ เอ็ด
| 0 |
หรือ การ อัน จำเป็น ใน การ ป้องกัน ประเทศ
| 0 |
ผู้ พิพากษา ต้อง ถวาย สัตย์ ปฏิญาณ ต่อ พระมหากษัตริย์
| 0 |
มาตรา หก สิบ สี่ ถ้า สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร ถูก คุมขัง ระหว่าง สอบสวน หรือ พิจารณา อยู่ ก่อน สมัย ประชุม เมื่อ ถึง สมัย ประชุม พนักงาน สอบสวน หรือ ศาล แล้วแต่ กรณี ต้อง สั่ง ปล่อย ทันที ถ้าหาก สภา ได้ ร้องขอ
| 0 |
( หก )
| 0 |
การ พิจารณาร่าง พระราชบัญญัติ ที่ วุฒิสภา หรือ สภาผู้แทนราษฎร ยับยั้ง ไว้ ตาม มาตรา
| 0 |
ส่วน ที่สี่
| 0 |
สมาชิก สภาผู้แทน ต้อง ไม่ เป็น ข้า ราชการ ประจำ
| 0 |
การ สืบมรดก ย่อม ได้ รับ ความ คุ้มครอง
| 0 |
ให้ กระทำ ได้ เมื่อ การ พิจารณา วาระ ที่ สอง ได้ ล่วงพ้น ไป แล้ว สิบ ห้า วัน
| 0 |
และ ให้ ประธาน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ส่ง รายงาน และ เอกสาร ที่ มี อยู่ พร้อม ทั้ง ความ เห็น ไป ยัง ประธาน วุฒิสภา เพื่อ ดำเนิน การ ตาม มาตรา
| 0 |
( สอง )ตาย
| 0 |
หรือ เพื่อ รักษา ความ สงบเรียบร้อย ใน ระหว่าง เวลา ที่ ประเทศ อยู่ ใน ภาวะ สงคราม หรือ ใน ระหว่าง เวลา ที่ มี ประกาศ สถานการณ์ ฉุกเฉิน หรือ ประกาศ ใช้ กฎ อัยการศึกมาตรา
| 0 |
หรือ ที่ เป็น เรื่อง เร่งด่วน สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร อาจ แจ้ง เป็น ลายลักษณ์อักษร ต่อ ประธาน สภาผู้แทนราษฎร ก่อน เริ่ม ประชุม ใน วัน นั้น ว่า จะ ถาม นายก รัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรี ผู้ รับผิดชอบ ใน การ บริหาร ราชการ แผ่นดิน เรื่อง นั้น โดย ไม่ ต้อง ระบุ คำ ถาม
| 0 |
หนึ่ง ร้อย สิบ เจ็ด
| 0 |
ทั้งนี้ ตาม ที่ กฎหมาย บัญญัติมาตรา
| 0 |
คง เป็น ประธาน สภาผู้แทนราษฎร
| 0 |
ใน วาระ เริ่ม แรก เมื่อ ครบ กำหนด สาม ปี นับ แต่ วัน ที่ พระมหากษัตริย์ ทรง แต่งตั้ง สมาชิก เป็น ครั้ง แรก
| 0 |
หนึ่ง ร้อย หก สิบ แปด
| 0 |
รัฐ พึง จัด ให้ สถาน ศึกษา ดำเนิน กิจการ ได้ โดย อิสระ ภาย ใน ขอบเขต ตาม ที่ กฎหมาย บัญญัติ
| 0 |
กำหนด วัน ดั่ง กล่าว ใน วรรค ก่อน ให้ หมาย ถึง วัน ใน สมัย ประชุม และ ให้ เริ่ม นับ แต่ วัน ที่ ร่าง พระราชบัญญัติ นั้น ได้ มา ถึง พฤฒสภา
| 0 |
มาตรา สาม สิบ สี่ สิทธิ ของ บุคคล ใน ทรัพย์สิน ย่อม ได้ รับ ความ คุ้มครอง ขอบเขต และ การ จำกัด สิทธิ เช่น ว่า นี้ ย่อม เป็น ไป ตาม บท บัญญัติ แห่ง กฎหมาย
| 0 |
คำ วินิจฉัย ของ ศาลรัฐธรรมนูญ ให้ เป็น เด็ดขาด มี ผล ผูกพัน รัฐสภา คณะ รัฐมนตรี ศาล และ องค์กร อื่น ของ รัฐ
| 0 |
หนึ่ง ร้อย หก สิบ
| 0 |
หนึ่ง ร้อย ห้า สิบ แปด
| 0 |
จะ ถอน การ สมัคร รับ เลือกตั้ง มิ ได้
| 0 |
หรือ จาก บัญชี ราย ชื่อ ผู้ ทรง คุณวุฒิ ตาม มาตรา
| 0 |
จำนวน กรรมการ ใน คณะ กรรมการ สรรหา แต่ละ คณะ วิธี การ สรรหา กำหนด เวลา ใน การ สรรหา จำนวน บุคคล ที่ จะ ต้อง สรรหา และ การ อื่น ที่ จำเป็น ให้ เป็น ไป ตาม ที่ กำหนด ใน พระราชกฤษฎีกา
| 0 |
เมื่อ มี ความ จำเป็น เพื่อ ประโยชน์ แห่ง รัฐ
| 0 |
ให้ นำ
| 0 |
พระมหากษัตริย์ ทรง พระราชอำนาจ ใน การ ประกาศ สงคราม เมื่อ ได้ รับ ความ ยินยอม ของ รัฐสภามาตรา
| 0 |
จะ ทรง ทำ ต่อ เมื่อ ไม่ ขัด แก่ บท บัญญัติ แห่ง กติกาสันนิบาตชาติ
| 0 |
หรือ หน่วย งาน อื่น ที่ เกี่ยวข้อง
| 0 |
มาตรา สาม สิบ สี่ เพื่อ ประโยชน์ ใน การ รักษา ความ สงบเรียบร้อย และ ความ มั่นคงแห่งชาติ ให้ มี คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ประกอบ ด้วย บุคคล ตาม ประกาศ ของ คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับ ที่ ยี่ สิบ สี่ ลง วัน ที่ ยี่ สิบ เก้า กันยายน พุทธศักราช สอง พัน ห้า ร้อย สี่ สิบ เก้า
| 0 |
มาตรา สอง ร้อย สิบ เจ็ด เมื่อ มี กรณี ที่ จะ ต้อง สรรหา ผู้ สมควร ได้ รับ การ แต่งตั้ง เป็น ผู้ ดำรง ตำแหน่ง ใน องค์กร อิสระ นอก จาก คณะ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ให้ เป็น หน้าที่ และ อำนาจ ของ คณะ กรรมการ สรรหา ตาม มาตรา สอง ร้อย สาม ที่ จะ ดำเนิน การ สรรหา เว้น แต่ กรรมการ สรรหา ตาม มาตรา สอง ร้อย สาม ( สี่ ) ให้ ประกอบ ด้วย บุคคล ซึ่ง แต่งตั้ง โดย ศาลรัฐธรรมนูญ และ องค์กร อิสระ ที่ มิ ใช่ องค์กร อิสระ ที่ ต้อง มี การ สรรหา
| 0 |
คณะ กรรมาธิการ ตาม วรรค หนึ่ง ย่อม มี อำนาจ ออก คำ สั่ง เรียก เอกสาร จาก บุคคล ใด
| 0 |
ให้ เป็น ไป ตาม ข้อ บังคับ
| 0 |
หนึ่ง ร้อย ห้า
| 0 |
บุคคล จะ ใช้ สิทธิ และ เสรีภาพ ตาม รัฐธรรมนูญ เพื่อ ล้มล้าง การ ปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ตาม รัฐธรรมนูญ นี้
| 0 |
หรือ ความ ผิด เกี่ยว กับ ทรัพย์ ที่ กระทำ โดย ทุจริต ตาม ประมวล กฎหมาย อาญา
| 0 |
ก็ ให้ ยับยั้ง ร่าง พระราชบัญญัติ นั้น ไว้ ก่อน
| 0 |
สาม
| 0 |
การ ปฏิบัติ หน้าที่ และ องค์ ประชุม ของ คณะ กรรมาธิการ
| 0 |
( สาม )
| 0 |
มาตรา หก สิบ แปด บุคคล มี หน้าที่ ไป ใช้ สิทธิ เลือกตั้ง
| 0 |
ใน คดี แพ่ง บุคคล ย่อม มี สิทธิ ได้ รับ ความ ช่วยเหลือ ทาง กฎหมาย จาก รัฐ ตาม ที่ กฎหมาย บัญญัติ
| 0 |
ช่วยเหลือ ราชการ โดย ทาง เสีย ภาษี และ อื่นๆ
| 0 |
หรือ ประกาศ ใช้ กฎ อัยการศึกมาตรา
| 0 |
พระมหากษัตริย์ ทรง ใช้ อำนาจ ตุลาการ ทาง ศาลมาตรา
| 0 |
( ห้า ) ผู้ สมัคร รับ เลือกตั้ง แบบ แบ่ง เขต เลือกตั้ง ต้อง มี ลักษณะ อย่าง ใด อย่าง หนึ่ง ดัง ต่อ ไป นี้ ด้วย คือ
| 0 |
เป็น กรรมการ
| 0 |
( สี่ )
| 0 |
ดัง ต่อ ไป นี้
| 0 |
เห็น ว่า สมาชิก สภา ท้องถิ่น หรือ ผู้ บริหาร ท้องถิ่น ผู้ ใด ของ องค์กร ปกครอง ส่วน ท้องถิ่น นั้น ไม่ สมควร ดำรง ตำแหน่ง ต่อ ไป
| 0 |
หนึ่ง ร้อย หก สิบ
| 0 |
( หนึ่ง )
| 0 |
เป็น กรรมการ
| 0 |
และ การ ลง โทษ ผู้ พิพากษา ใน ศาลยุติธรรม
| 0 |
ซึ่ง ต้อง กำหนด วัน เลือกตั้ง ภาย ใน หก สิบ วัน นับ แต่ วัน ที่ อายุ ของ สภาผู้แทนราษฎร สิ้นสุด ลง
| 0 |
มาตรา สอง ร้อย หก สิบ เอ็ด ใน การ ปฏิรูป ตาม มาตรา สอง ร้อย ห้า สิบ แปด จ. ด้าน การ ศึกษา ให้ มี คณะ กรรมการ ที่ มี ความ เป็น อิสระ คณะ หนึ่ง ที่ คณะ รัฐมนตรี แต่งตั้ง ดำเนิน การ ศึกษา และ จัดทำ ข้อ เสนอ แนะ และ ร่าง กฎหมาย ที่ เกี่ยวข้อง ใน การ ดำเนินการ ให้ บรรลุ เป้าหมาย เพื่อ เสนอ คณะ รัฐมนตรี ดำเนิน การ ต่อ ไป
| 0 |
ร่าง พระราชบัญญัติ เกี่ยว ด้วย การ เงิน
| 0 |
หน้าที่ และ อำนาจ อื่น ตาม ที่ บัญญัติ ไว้ ใน รัฐธรรมนูญ
| 0 |
ให้ ยับยั้ง ร่าง พระราชบัญญัติ นั้น ไว้ ก่อน
| 0 |
เมื่อ ผู้ ได้ รับ การ สรรหา หรือ คัดเลือก ได้ รับ ความ เห็น ชอบ จาก วุฒิสภา แล้ว
| 0 |
และ มี สิทธิ ร้องเรียน เพื่อ ให้ ได้ รับ การ แก้ไข เยียวยา ความ เสียหาย
| 0 |
Subsets and Splits
No community queries yet
The top public SQL queries from the community will appear here once available.