text
stringlengths 2
3.99k
| label
int64 0
0
|
---|---|
หนึ่ง ร้อย ห้า สิบ สาม
| 0 |
หรือ สมาชิก สภา ปฏิรูป แห่ง ชาติ
| 0 |
ใน กรณี ที่ ผู้ สำเร็จ ราชการ แทน พระองค์ ซึ่ง ได้ รับ การ แต่งตั้ง ตาม มาตรา
| 0 |
สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร จำนวน ไม่ น้อย กว่า หนึ่ง ใน ห้า ของ จำนวน สมาชิก ทั้งหมด ของ สภาผู้แทนราษฎร
| 0 |
แล้วแต่ กรณี
| 0 |
ก็ ให้ ยับยั้ง ร่าง พระราชบัญญัติ นั้น ไว้ ก่อน
| 0 |
มาตรา หนึ่ง ร้อย ยี่ สิบ แปด วุฒิสภา และ สภาผู้ แทน มี อำนาจ ควบคุม ราชการ แผ่นดิน โดย บท บัญญัติ แห่ง รัฐธรรมนูญ นี้
| 0 |
เมื่อ ศาลรัฐธรรมนูญ มี คำ วินิจฉัย แล้ว ให้ ศาลรัฐธรรมนูญ แจ้ง คำ วินิจฉัย ไป ยัง ประธาน รัฐสภา และ ประธาน กรรมการ การเลือกตั้ง
| 0 |
ถ้าหาก วุฒิสภา ลง มติ ไม่ เห็น ชอบ ด้วย ก็ ให้ ส่ง ร่าง พระราชบัญญัติ นั้น กลับคืน มา ให้ สภาผู้แทน พิจารณา ใหม่ ถ้า สภา ผู้ แทน ลง มติ เห็น ชอบ ตาม วุฒิสภา แล้ว ก็ ให้ ถือ ว่า ร่าง พระราชบัญญัติ นั้น เป็น อัน ตก ไป
| 0 |
ประธาน วุฒิสภา เป็น ประธาน รัฐสภา
| 0 |
พนักงาน หรือ ลูกจ้าง ของ เอกชน ที่ ประกอบ กิจการ หนังสือพิมพ์
| 0 |
มา ใช้ บังคับมาตรา
| 0 |
ใน กรณี ที่ บุคคล ตาม วรรค หนึ่ง ละเลย หรือ ไม่ ปฏิบัติ ให้ เป็น ไป ตาม หน้าที่ ตาม ว รรค หนึ่ง หรือว รรค สอง
| 0 |
ย่อม แสดง ถึง ความ เลื่อมใสศรัทธา ของ ปวงชน ชาว ไทย ใน การ ปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตย
| 0 |
ใน ระหว่าง ที่ สภาผู้แทนราษฎร สิ้น อายุ หรือ สภาผู้แทนราษฎร ถูก ยุบ ให้ วุฒิสภา ทำ หน้าที่ รัฐสภา ใน การ รับ ทราบ ตาม วรรค สอง
| 0 |
มาตรา สาม ร้อย สอง ให้ พระราชบัญญัติ ประกอบ รัฐธรรมนูญ ดัง ต่อ ไป นี้ มี ผล ใช้ บังคับ ต่อ ไป ภาย ใต้ เงื่อนไข ที่ กำหนด ไว้ ใน มาตรา นี้
| 0 |
สมาชิก วุฒิสภา
| 0 |
พระมหากษัตริย์ ทรง เรียก ประชุม รัฐสภา
| 0 |
อัน จะ เป็น การ ทำลาย ความ มั่นคง ของ ชาติ และ ความ ศรัทธา ของ ประชาชน ที่ มี ต่อ การ ปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ใน ที่สุด
| 0 |
หนึ่ง ร้อย ยี่ สิบ หก
| 0 |
หาก ปรากฏ ตาม คำ พิพากษา ของ ศาล ที่ รื้อฟื้น คดี ขึ้น พิจารณา ใหม่ ใน ภาย หลัง ว่า
| 0 |
แล้วแต่ กรณี
| 0 |
( แปด )
| 0 |
มาตรา สาม สิบ เก้า บุคคล ย่อม มี เสรีภาพ บริบูรณ์ ใน การ เลือก ถิ่น ที่ อยู่ ภาย ใน ราชอาณาจักร และ ใน การ ประกอบ อาชีพ
| 0 |
ประธาน รัฐสภา
| 0 |
และ คณะ รัฐมนตรี
| 0 |
ใน การ ที่ สภาผู้แทนราษฎร เสนอ ร่าง พระราชบัญญัติ เกี่ยว ด้วย การ เงิน ไป ยัง วุฒิสภา ให้ ประธาน สภาผู้แทนราษฎร แจ้ง ไป ด้วย ว่า ร่าง พระราชบัญญัติ ที่ เสนอ ไป นั้น เป็น ร่าง พระราชบัญญัติ เกี่ยว ด้วย การ เงิน คำ แจ้ง ของ ประธาน สภาผู้แทนราษฎร ให้ ถือ เป็น เด็ดขาด
| 0 |
ให้ คณะ รัฐมนตรี เสนอ พระราชกำหนด นั้น ต่อ รัฐสภา เพื่อ พิจารณา โดย ไม่ ชักช้า
| 0 |
แต่ ให้ คำนึง ถึง วัตถุประสงค์ และ ภารกิจ ของ หน่วย งาน ที่ ตน สังกัด อยู่ ด้วยมาตรา
| 0 |
ตาม วรรค หนึ่ง
| 0 |
สมาชิก ทุก คน มี สิทธิ ตั้ง กระทู้ ถาม รัฐมนตรี ใน เรื่อง ใด อัน เกี่ยว กับ งาน ใน หน้าที่ ได้
| 0 |
เมื่อ ได้ ประกาศ ใช้ พระราชกำหนด แล้ว
| 0 |
แล้ว แจ้ง ผล การ สรรหา ให้ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ประกาศ ผล ผู้ ได้ รับ การ สรรหา เป็น สมาชิก วุฒิสภา
| 0 |
เคย ศึกษา ใน สถาน ศึกษา ที่ ตั้ง อยู่ ใน จังหวัด ที่ สมัคร รับ เลือกตั้ง เป็น เวลา ติดต่อ กัน ไม่ น้อย กว่า ห้า ปี การ ศึกษา
| 0 |
มี ผล ใช้ บังคับ ต่อ ไป นับ แต่ วัน ที่ การ ไม่ อนุมัติ พระราชกำหนด นั้น มี ผล
| 0 |
ใน ระหว่าง ที่ ยัง ไม่ มี ประธาน ศาลปกครองสูงสุด
| 0 |
สี่ สิบ แปด
| 0 |
เมื่อ รัฐสภา ให้ ความ เห็น ชอบ แล้ว ให้ ประธาน รัฐสภา อัญเชิญ องค์ ผู้ สืบ ราชสันตติวงศ์ ขึ้น ทรง ราชย์ เป็น พระมหากษัตริย์ สืบ ไป
| 0 |
นว มี ดิถีสุริยคติกาล
| 0 |
( หนึ่ง )
| 0 |
บุคคล ย่อม มี สิทธิ เสนอ เรื่องราว ร้อง ทุกข์
| 0 |
เว้น แต่ โดย อาศัย อำนาจ ตาม บท บัญญัติ แห่ง กฎหมาย ที่ ตรา ขึ้น เพื่อ คุ้มครอง ประโยชน์ สาธารณะ
| 0 |
มาตรา หนึ่ง ร้อยแปด สิบ เอ็ด ข้า ราชการ และ พนักงาน ของ รัฐ ซึ่ง มี ตำแหน่ง หรือ เงิน เดือน ประจำ และ มิ ใช่ ข้า ราชการ การ เมือง จะ เป็น ข้า ราชการ การ เมือง หรือ ผู้ ดำรง ตำแหน่ง ทาง การ เมือง อื่น มิ ได้
| 0 |
สอง ร้อย ยี่ สิบ หก
| 0 |
กฎหมาย ว่า ด้วย วิธี การ งบ ประมาณ
| 0 |
และ รัฐมนตรี อื่น อีก จำนวน ไม่ เกิน สาม สิบ ห้า คน ตาม ที่ นายก รัฐมนตรี ถวาย คำ แนะนำ
| 0 |
คำ วินิจฉัย ของ คณะ กรรมการ ตุลาการ รัฐธรรมนูญ ให้ ถือ เป็น เด็ดขาด และ ให้ คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ แจ้ง คำ วินิจฉัย นั้น ไป ยัง ประธาน แห่ง สภา ที่ ได้ รับ คำ ร้อง ดัง กล่าว ใน ว รรค หนึ่ง
| 0 |
สอง พัน ห้า ร้อย ห้า สิบ เก้า
| 0 |
( สาม )
| 0 |
ถ้า มี ประชามติ ไม่ เห็น ชอบ ด้วย ร่าง รัฐธรรมนูญ ให้ ร่าง รัฐธรรมนูญ นั้น ตก ไป
| 0 |
( สอง )
| 0 |
ตาม ที่ กฎหมาย บัญญัติ
| 0 |
หรือ ลด
| 0 |
รวม ทั้ง การ กระทำ ที่ เกี่ยวเนื่อง กับ กรณี ดัง กล่าว ไม่ว่า ก่อน หรือ หลัง วัน ประกาศ ใช้ รัฐธรรมนูญ นี้
| 0 |
สอง ร้อย เจ็ด สิบ เอ็ด
| 0 |
สอง พัน ห้า ร้อย สี่ สิบ เก้า
| 0 |
หนึ่ง ร้อย สิบ
| 0 |
การ อนุมัติ หรือ ไม่ อนุมัติ พระราชกำหนด
| 0 |
ทาง นิติบัญญัติ
| 0 |
ใน การ พิจารณา ของ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือ ของ คณะ กรรมาธิการ การ เสนอ การ แปร ญัตติ หรือ การ กระทำ ด้วย ประการ ใด ๆ ที่ มี ผล ให้ สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร สมาชิก วุฒิสภา หรือ กรรมาธิการ มี ส่วน ไม่ว่า โดย ทาง ตรง หรือ ทาง อ้อม ใน การ ใช้ งบ ประมาณ ราย จ่าย จะ กระทำ มิ ได้
| 0 |
วัน ที่
| 0 |
เป็น ภิกษุสามเณร
| 0 |
ได้แก่ สัมพันธภาพ ระหว่าง รัฐสภา กับ คณะ รัฐมนตรี และ รูป ของ รัฐสภา เป็น สำคัญ
| 0 |
ใน การ อุปถัมภ์ และ คุ้มครอง พระพุทธศาสนา อัน เป็น ศาสนา ที่ ประชาชน ชาว ไทย ส่วน ใหญ่ นับถือ มา ช้านาน รัฐพึง ส่งเสริม และ สนับสนุน การ ศึกษา และ การ เผยแผ่ หลัก ธรรม ของ พระพุทธศาสนา เถรวาท เพื่อ ให้ เกิด การ พัฒนา จิตใจ และ ปัญญา และ ต้อง มี มาตรการ และ กลไก ใน การ ป้องกัน มิ ให้ มี การ บ่อน ทำลาย พระพุทธศาสนา ไม่ว่า ใน รูปแบบ ใด และ พึง ส่งเสริม ให้ พุทธศาสนิกชน มี ส่วน ร่วม ใน การ ดำเนิน มาตรการ หรือ กลไก ดัง กล่าว ด้วย
| 0 |
ให้ สภา ร่าง รัฐธรรมนูญ และ คณะ กรรมาธิการ ยก ร่าง รัฐธรรมนูญ ตาม รัฐธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจักรไทย
| 0 |
รัฐธรรมนูญ นี้ จะ แก้ไข เพิ่มเติม ได้ แต่ โดย เงื่อนไข ต่อ ไป นี้
| 0 |
( ข ) การ ปฏิบัติ หรือ ละเลย ไม่ ปฏิบัติ หน้าที่ ของ ข้า ราชการ พนักงาน หรือ ลูกจ้าง ของ หน่วย ราชการ หน่วย งาน ของ รัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจ หรือ ราชการ ส่วน ท้องถิ่น ที่ ก่อ ให้ เกิด ความ เสียหาย แก่ ผู้ ร้องเรียน หรือ ประชาชน โดย ไม่ เป็นธรรม ไม่ว่า การ นั้น จะ ชอบ หรือ ไม่ ชอบ ด้วย อำนาจ หน้าที่ ก็ตาม
| 0 |
ถูก กล่าวหา ว่า ร่ำรวย ผิด ปกติ
| 0 |
นายก รัฐมนตรี จะ แจ้ง ไป ยัง ประธาน รัฐสภา ขอ ให้ มี การ เปิด อภิปราย ทั่วไป ใน ที่ ประชุม ร่วม กัน ของ รัฐสภา ก็ ได้
| 0 |
สอง พัน ห้า ร้อย ยี่ สิบ
| 0 |
คำ ร้องขอ ดัง กล่าว ใน ว รรค หนึ่ง ให้ ยื่น ต่อ ประธาน รัฐสภา
| 0 |
( หนึ่ง )
| 0 |
ซึ่ง ต้อง แสดง โดย เปิดเผย ซึ่ง ที่ มา ของ ราย ได้ และ การ ใช้จ่าย ประจำ ปี ของ พรรค การ เมือง ใน ทุก รอบ ปี ปฏิทิน
| 0 |
บรรดา ประกาศ และ คำ สั่ง ของ คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข หรือ คำ สั่ง ของ หัวหน้า คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
| 0 |
มาตรา หนึ่ง ร้อย ห้า สิบ เก้า ภาย ใน สาม สิบ วัน นับ แต่ วัน เลือกตั้ง สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร ให้ มี การ เรียก ประชุม รัฐสภา เพื่อ ให้ สมาชิก ได้ มา ประชุม เป็น ครั้ง แรก
| 0 |
วรรค สาม
| 0 |
มาตรา ห้า สิบ ห้า พระมหากษัตริย์ ทรง ไว้ ซึ่ง พระราชอำนาจ ที่ จะ พระราชทาน อภัยโทษ
| 0 |
บรรดา คดี หรือ การ ใด ที่ อยู่ ใน ระหว่าง ดำเนินการ ของ คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ตาม วรรค หนึ่ง ให้ ศาลรัฐธรรมนูญ ตาม มาตรา นี้ ดำเนิน การ ต่อ ไป
| 0 |
มาตรา หนึ่ง ร้อย สาม สิบ เจ็ด พระมหากษัตริย์ ทรง แต่งตั้ง นายก รัฐมนตรี คน หนึ่ง และ รัฐมนตรี อีก ไม่ น้อย กว่า สิบ ห้า คน และ ไม่ มาก กว่า สาม สิบ คน ประกอบ เป็น คณะ รัฐมนตรี มี หน้าที่ บริหาร ราชการ แผ่นดิน
| 0 |
มาตรา หนึ่ง ร้อยแปด สิบ สี่ คณะ รัฐมนตรี ที่ จะ เข้า บริหาร ราชการ แผ่นดิน ต้อง แถลง นโยบาย ต่อ สภาผู้แทนราษฎร เพื่อ ขอ ความ ไว้วางใจ มติ ให้ ความ ไว้วางใจ ต้อง มี คะแนน เสียง มาก กว่า กึ่ง หนึ่ง ของ จำนวน สมาชิก ที่ มา ประชุม
| 0 |
( หนึ่ง )
| 0 |
กระทำ การ อัน ต้อง ห้าม ตาม มาตรา
| 0 |
ถ้า คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ วินิจฉัย ว่า
| 0 |
ยี่ สิบ สอง
| 0 |
( สี่ ) สภาผู้แทนราษฎร ลง มติ ไม่ ไว้ใจ
| 0 |
มาตรา หก สิบ สอง ท่าน ว่า สภาผู้แทนราษฎร เป็น ผู้ ทรง ไว้ ซึ่ง สิทธิ เด็ดขาด ใน การ ตีความ แห่ง รัฐธรรมนูญ นี้
| 0 |
สิทธิ และ เสรีภาพ ของ ชน ชาว ไทยมาตรา
| 0 |
สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร
| 0 |
มาตรา หนึ่ง ร้อย ยี่ สิบ เจ็ด สมาชิก วุฒิสภา จะ เป็น รัฐมนตรี หรือ ข้า ราชการ การ เมือง อื่น มิ ได้
| 0 |
ก่อน ที่ จะ มี คำ พิพากษา อัน ถึง ที่สุด แสดง ว่า บุคคล ใด ได้ กระทำ ความ ผิด จะ ปฏิบัติ ต่อ บุคคล นั้น เสมือน เป็น ผู้ กระทำ ความ ผิด มิ ได้
| 0 |
หก สิบ ห้า
| 0 |
เป็น ผู้ มี สิทธิ สมัคร รับ เลือกตั้ง เป็น สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร
| 0 |
พนักงาน สอบสวน หรือ ศาล
| 0 |
มาตรา สี่ ให้ เพิ่ม ความ ต่อ ไป นี้ เป็น หมวด สาม และ มาตรา สาม สิบ แปด ถึง มาตรา สี่ สิบ สี่ ของ รัฐธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจักรไทย ฉบับ พุทธศักราช สอง พัน สี่ ร้อย เจ็ด สิบ ห้า ตาม ลำดับ
| 0 |
( ห้า )
| 0 |
มี พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ ประกาศ ว่า
| 0 |
หรือ เพื่อ รักษา สถานภาพ ของ ครอบครัว
| 0 |
หรือ ผู้ พิการ หรือ ทุพพลภาพ
| 0 |
และ วัน เลือกตั้ง นั้น ต้อง กำหนด วัน เดียว กัน ทั่ว ราชอาณาจักร
| 0 |
รวม ทั้ง การ กระทำ ด้วย ประการ ใดๆ
| 0 |
Subsets and Splits
No community queries yet
The top public SQL queries from the community will appear here once available.